imga0444.jpg

old home
Activities
BWCS
WEBBOARD
KING&QUEEN
BWCS NEWS
Chinese Academics
ANUBAN CHILD
INFO NEWS
Programs
SPORT
Activities
Buddha Bless
Calendar Plan
Links
Contact Us
Buddha Bless

Enter subhead content here

บทสวดมนต์

คำนมัสการพระรัตนตรัย

อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา  พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ
(
กราบลง 1 ครั้ง)

สวาขาโต ภะคะวะตา ธัมโม  ธัมมัง นะมัสสามิ
(
กราบลง 1 ครั้ง)

สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ  สังฆัง นะมามิ
(
กราบลง 1 ครั้ง)

ทำวัตรเช้า

(เมื่อหัวหน้าจุดเทียน ธูป พึงนั่งคุกเข่าประนมมือพร้อมกัน หัวหน้านำให้ว่าตามทีละตอน)

โย โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
สวากขาโต เยนะ ภะคะวะตา ธัมโม
สุปะฏิปันโน ยัสสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
ตัม มะยัง ภะคะวันตัง สะธัมมัง สะสังฆัง
อิเมหิ สักกาเรหิ ยะถาระหัง อาโรปิเตหิ อะภิปูชะยามะ
สาธุ โน ภันเต ภะคะวา สุจิระปะรินิพพุโตปิ
ปัจฉิมาชะนะตานุกัมปะมานะสา
อิเม สักกาเร ทุคคะตะปัณณาการะภูเต ปะฏิคคัณหาตุ
อัมหากัง ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะ

อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา
พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ (กราบ)
สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม
ธัมมัง นะมัสสามิ (กราบ)
สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
สังฆัง นะมามิ (กราบ)

(นำ) หันทะ มะยัง พุทธัสสะ ภะคะวะโต ปุพพะภาคะนะมะการัง กะโรมะ เส ฯ
(
รับ)   นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
(
นำ) หันทะ มะยัง พุทธาภิถุติง กะโรมะ เส
(
รับ) โย โส ตะถาคะโต อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ , วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถาเทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา , โย อิมัง โลกัง สะเทวะกัง สะมาระกัง สะพรัหมะกัง , สัสสะมะณะพราหมะณิง ปะชัง สะเทวะมะนุสสัง สะยัง อะภิญญา สัจฉิกัตวา ปะเวเทสิ , โย ธัมมัง เทเสสิ อาทิกัลยาณัง มัชเฌกัลยาณัง ปะริโยสานะกัลยาณัง, สาตถึงสะพยัญชะนัง เกวะละปะริปุณณัง ปะริสุทธัง พรัหมะจะริยัง ปะกาเสสิ, ตะมะหัง ภะคะวันตัง อะภิปูชะยามิ ตะมะหัง ภะคะวันตัง สิระสา นะมามิ ฯ (กราบ)

(นำ) หันทะ มะยัง ธัมมาภิถุติง กะโรมะ เส
(
รับ) โยโส สวากขาโต  ภะคะวะตา ธัมโม , สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก , โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหิ , ตะมะหัง ธัมมัง อะภิปูชะยามิ ตะมะหัง ธัมมัง สิระสา นะมามิฯ
(
กราบ)

(นำ) หันทะ มะยัง สังฆาภิถุติง กะโรมะ เส
(
รับ) โย โส สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ , อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ , สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ , ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา , เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ , อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเฌยโย อัญชะลีกะระณีโย , อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสะ , ตะมะหัง สังฆังอะภิปูชะยามิ ตะมะหัง สังฆัง สิระสา นะมามิ ฯ
(
กราบ)
(
นั่งพับเพียบ)

(นำ) หันทะ มะยัง ระตะนัตตะยัปปะณามะคาถาโย เจวะ สังเวคะ ปะริกิตตะนะ ปาฐัญจะ ภะณามะ เสฯ
(
ถ้าสวดครึ่งเดียว คือลงแค่ ปะภาวะสิทธิยา ไม่ต่อ อิธะ ตะถาคะโต ก็นำเพียงครึ่งเดียวว่า หันทะ มะยัง ระตะนัตตะยัปปะณามะ คาถาโย ภะณามะ เสฯ)
(
รับ) พุทโธ สุสุทโธ กะรุณามะหัณณะโว
โยจจันตะสุทธัพพะระญาณะโลจะโน
โลกัสสะ ปาปูปะกิเลสะฆาตะโก
วันทามิ พุทธัง อะหะมาทะเรนะ ตัง
ธัมโม ปะทีโป วิยะ ตัสสะ สัตถุโน
โย มัคคะปากามะตะเภทะภินนะโก
โลกุตตะโร โย จะ ตะทัตถะทีปะโน
วันทามิ ธัมมัง อะหะมาทะเรนะ ตัง
สังโฆ สุเขตตาภยะติเขตตะสัญญิโต
โย ทิฏฐิะสันโต สุคะตานุโพธะโก
โลลัปปะหิโน อะริโย สุเมธะโส
วันทามิ สังฆัง อะหะมาทะเรนะ ตัง
อิจเจวะเมกันตะภิปูชะเนยยะกัง
วัตถุตตะยัง วันทะยะตาภิสังขะตัง
ปุญญัง มะยา ยัง มะมะ สัพพุปัททะวา
มา โหนตุ เว ตัสสะ ปะภาวะสิทธิยาฯ
(
ถ้ามีเวลาพอ ให้สวด สังเวคะปะริกิตตะนะปาฐะ ต่อไปนี้)

อิธะ ตะถาคะโต โลเก อุปปันโน อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ,ธัมโม จะ เทสิโต นิยยานิโก อุปะสะมิโก ปะรินิพพานิโก สัมโพธะคามี สุคะตัปปะเวทิโต, มะยันตัง ธัมมัง สุตวา เอวัง ชานามะ, ชาติปิ ทุกขา ชะราปิ ทุกขา มะระณัมปิ ทุกขัง, โสกะปะริเทวะทุกขะโทมะนัสสุปายาสาปิ ทุกขา, อัปปิเยหิ สัมปะโยโค ทุกโข ปิเยหิ วิปปะโยโค ทุกโข ยัมปิจฉัง นะ ละภะติ ตัมปิ ทุกขัง, สังขิตเตนะ ปัญจุปาทานักขันธา ทุกขา, เสยยะถีทัง, รูปูปาทานักขันโธ, เวทะนูปาทานักขันโธ, สัญญูปาทานักขันโธ, สังขารูปาทานักขันโธ, วิญญาณูปาทานักขันโธ, เยสัง ปะริญญายะ, ธะระมาโน โส ภะคะวา, เอวัง พะหุลัง สาวะเก วิเนติ, เอวัง ภาคา จะ ปะนัสสะ ภะคะวะโต

สาวะเกสุ อะนุสาสะนี พะหุลา ปะวัตตะติ, รูปัง อะนิจจัง, เวทะนา อะนิจจา, สัญญา อะนิจจา, สังขารา อะนิจจา, วิญญาณัง อะนิจจา, รูปัง อะนัตตา, เวทะนา อนัตตา, สัญญา อะนัตตา, สังขารา อะนัตตา, วิญญาณัง อะนัตตา, สัพเพ สังขารา อะนิจจา, สัพเพ ธัมมา อนัตตาติ, เต มะยัง โอติณณามะหะ ชาติยา ชะรามะระเณนะ, โสเกหิ ปะริเทเวหิ ทุกเขหิ โทมะนัสเสหิ อุปายาเสหิ, ทุกโขติณณา ทุกขะปะเรตา, อัปเปวะนามิมัสสะ เกวะลัสสะ ทุกขักขันธัสสะ  อันตะกิริยา ปัญญาเยถาติ, จิระปะรินิพพุตัมปิ ตัง ภะคะวันตัง อุททิสสะ อะระหันตัง สัมมาสัมพุทธัง,

สัทธา อะคารัสมา อะนะคาริยัง ปัพพะชิตา, ตัสมิง ภะคะวะติ พรัหมะจะริยัง จะรามะ, ภิกขูนัง สิกขาสาชีวะสะมาปันนา, ตังโน พรัหมะจะริยัง อิมัสสะ เกวะลัสสะ ทุกขักขันธัสสะ อันตะกิริยายะ สังวัตตะตูติฯ

(สามเณรสวดพึงลดคำว่า ภิกขูนัง สิกขาสาชีวะสะมาปันนา ที่ขีดเส้นใต้ออกเสีย ถ้าคฤหัสถ์สวด ตั้งแต่ อิธะ ตะถาคะโต จนถึง ปัญญาเยถาติ แล้วสวดดังนี้ จิระปะรินิพพุตัมปิ ตัง ภะคะวันตัง สะระณัง คะตา ธัมมัญจะ ภิกขุสังฆัญจะ ตัสสะ ภะคะวะโต สาสะนัง ยะถาสะติ ยะถาสะติ ยะถาพะลัง มะนะสิกะโรมะ อะนุปะฏิปัชชามะ  สา สา โน ปะฏิปัตติ อิมัสสะ เกวะลัสสะ ทุกขักขันธัสสะ อันตะกิริยายะ สังวัตตะตุฯ อนึ่ง ถ้าสตรีสวด เต มะยัง นั้น ให้แปลงเป็น ตา มะยัง บทว่า ปะรินิพพานิโก มีในฉบับ สีหฬ เป็น  ปะรินิพพายิโก ฉะนี้ทุกแห่ง)

พระคาถาชินบัญชร

ของสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) วัดระฆังโฆสิตาราม

เพื่อให้เกิดอานุภาพยิ่งขึ้น ก่อนเจริญภาวนาชินบัญชร ตั้งนะโม 3 จบก่อน แล้วลระลึกถึงและบูชาเจ้าประคุณสมเด็จฯ ด้วยคำว่า

ปุตตะกาโมละเภปุตตัง    ธะนะกาโมละเภธะนัง
อัตถิกาเยกายะญายะ     เทวานังปิยะตังสุตตะวา
อิติปิโส ภะคะวา     ยะมะราชาโน
ท้าวเวสสุวัณโณ     มรนังสุขัง
อะระหังสุคะโต      นะโมพุทธายะฯ
(
แล้วจึงเจริญภาวนา)

1. ชะยาสะนากะตา พุทธา       เชตวา มารัง สะวาหะนัง
จะตุสัจจาสะภัง ระสัง        เย ปิวิงสุ นะราสะภา

2. ตัณหังกะราทะโย พุทธา     อัฏฐะ วีสะติ นายะกา
สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง      มัตถะเก เต มุนิสสะรา

3. สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง        พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน
สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง      อุเร สัพพะคุณากะโร

4. หะทะเย เม อะนุรุทโธ      สารีปุตโต จะ ทักขิเณ
โกณทัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง      โมคคัลลาโน จะ วามะเก

5. ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง        อาสุง อานันทะราหุโล
กัสสะโป จะ มะหานาโม     อุภาสุง วามะโสตะเก

6. เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง     สุริโยวะ ปะภังกะโร
นิสินโน สิริสัมปันโน        โสภีโต มุนิปุงคะโว

7. กุมาระกัสสะโป เถโร       มะเหสี จิตตะวาทะโก
โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง     ปะติฏฐาสิ คุณากะโร

8. ปุณโณ อังคุลิมาโล จะ     อุปาลีนัน ทะสีวะลี
เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา        นะลาเฏ ติละกา มะมะ

9.เสสาสีติ มะหาเถรา     วิชิตา ชินะสาวะกา
เอเตสีติ มะหาเถรา           ชิตะวันโต ชิโนระสา
ชะลันตา สีละเตเชนะ      อังคะมังเคสุ สัณฐิตา

10. ระตะนัง ปุระโต อาสิ     ทักขิเณ เมตตะสุตตะกัง
ธะชัคคัง ปัจฉะดต อาสิ       วาเม อังคุลิมาละกัง

11. ขันธะโมระปะริตตัญจะ     อาฏานาฏิยะสุตตะกัง
อากาเส ฉะทะนัง อาสิ     เสสา ปาการะสัณฐิตา

12. ชินา นานา วะระสังยุตตา  สัตตัปปาการะลังกะตา
วาตะปิตตาทิสัญชาตา      พาหิรัชฌัตตุปัททะวา

13. อะเสสา วินะยัง ยันตุ        อะนันตะชินะเตชะสา
วะสะโต เม สะกิจเจนะ     สะทา สัมพุทธะปัญชะเร

14. ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ     วิหะรันตัง มะหิตะเล
สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ      เต มะหาปุริสาสะภา

15. อิจเจวะมันโต            สุคุตโต สุรักโข
ชินานุภาเวนะ            ชิตูปัททะโว
ธัมมานุภาเวนะ           ชิตาริสังโฆ
สังฆานุภาเวนะ           ชิตันตะราโย
สัทธัมมานุภาวะปาลิโต        จะรามิ ชินะปัญชะเรติ

คำแปล พระคาถาชินบัญชร

1. พระพุทธเจ้าและพระนราสภาทั้งหลายผู้ประทับนั่งแล้วบนชัยบัลลังก์ ทรงพิชิตพระยามาราธิราชผู้พรั่งพร้อมด้วยเสนาราชพาหนะแล้ว เสวยอมตรสคือ อริยะสัจธรรมทั้งสี่ ประการ เป็นผู้นำสรรพสัตว์ให้ข้ามพ้นจากกิเลสและกองทุกข์

2. มี 28 พระองค์ คือ พระผู้ทรงพระนามว่า ตัณหังกร เป็นอาทิพระพุทธเจ้าผู้จอมมุนี ทั้งหมดนั้น

3. ข้าพระพุทธเจ้าขออภัยเชิญมาประดิษฐานเหนือเศียรเกล้า องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าประดิษฐานอยู่บนศีรษะ พระธรรมอยู่ที่ดวงตาทั้งสองพระสงฆ์ผู้เป็นอาการบ่อเกิดแห่งสรรพคุณอยู่ที่อก

4. พระอนุรุทธะอยู่ที่ใจ พระสารีบุตรอยู่เบื้องขวา พระโมคคัลลาน์อยู่เบื้องซ้าย พระอัญญาโกณฑัญญะอยู่เบื้องหลัง

5. พระอานนท์กับพระราหุลอยู่หูขวา พระกัสสะปะกับพระมหานามะ อยู่ที่หูซ้าย

6. มุนีผู้ประเสริฐ คือ พระโสภิตะผู้สมบูรณ์ ด้วยสิริดังพระอาทิตย์ส่องแสงอยู่ที่ทุกเส้นขน ตลอดร่างทั้งข้างหน้าและข้างหลัง

7. พระเถระกุมาระกัสสะปะ ผู้แสวงบุญทรงคุณอันวิเศษ มีวาทะอันวิจิตรไพเราะอยู่ปากเป็นประจำ

8. พระปุณณะ พระอังคุลิมาล พระอุบาลี พระนันทะ และพระสีวะลี พระเถระทั้ง 5 นี้ จงปรากฏเกิดเป็นกระแจะจุณเจิมที่หน้าผาก

9. ส่วนพระอสีติมหาเถระที่เหลือ ผู้มีชัยและเป็นพระโอรสเป็นพระสาวกของพระพุทธเจ้าผู้ทรงชัยแต่ละองค์ล้วนรุ่งเรืองไพโรจน์ด้วยเดชแห่งศีลให้ดำรงอยู่ทั่วอวัยวะน้อยใหญ่

10. พระรัตนสูตรอยู่เบื้องหน้า พระเมตตสูตรอยู่เบื้องขวา พระอังคุลิมาลปริตรอยู่เบื้องซ้าย พระธชัคคะสูตรอยู่เบื้องหลัง

11. พระขันธปริตร พระโมรปริตร และพระอาฏนาฏิยสูตร เป็นเครื่องกางกั้นดุจหลังคาอยู่บนนภากาศ

12. อนึ่งพระชินเจ้าทั้งหลายนอกที่ได้กล่าวมาแล้วนี้ผู้ประกอบพร้อมด้วยกำลังนานาชนิดมีศิลาทิคุณอันมั่นคง คือ สัตตะปราการเป็นอาภรณ์มาตั้งล้อมเป็นกำแพงคุ้มครองเจ็ดชั้น

13. ด้วยเดชานุภาพแห่งพระอนันตชินเจ้า ไม่ว่าจะทำกิจการใดๆ เมื่อข้าพระพุทธเจ้าเข้าอาศัยอยู่ในพระบัญชรแวดวงกรงล้อมแห่งพระสัมมาสัมพุทธเจ้าขอโรคอุปัทวะทุกข์ ทั้งภายนอกและภายใน อันเกิดแต่โรคร้าย คือ โรคลมและโรคดี เป็นต้น เป็นสมุฏฐานจงกำจัดให้พินาศไปอย่าได้เหลือ

14. ขอพระมหาบุรุษผู้ทรงพระคุณอันล้ำเลิศทั้งปวงนั้น จงอภิบาลข้าพระพุทธจ้า ผู้อยู่ในภาคพื้นท่ามกลางพระชินบัญชร ข้าพระพุทธเจ้าได้รับการคุ้มครองปกปักรักษาภายใจเป็นอันดีฉะนี้แล

15. ข้าพระพุทธเจ้า ได้รับการอภิบาลด้วยคุณานุภาพแห่งสัทธรรม จึงชนะเสียได้ซึ่งอุปัทวันตรายใดๆ ด้วยอานุภาพแห่งพระชินะพระพุทธเจ้า ชนะข้าศึกศัตรูด้วยอานุภาพแห่งพระธรรม ชนะอันตรายทั้งปวงด้วยอานุภาพแห่งพระสงฆ์ ขอข้าพระพุทธเจ้าจงได้ปฏิบัติ และรักษาดำเนินไปโดยสวัสดีเป็นนิจนิรันดรเทอญฯ

คำอาราธนาศีล

ครั้นผู้นำประกาศอุโบสถเสร็จ และพระผู้ให้ศีลหรือพระผู้เทศน์ขึ้นนั่งบนธรรมาสน์แล้ว พึงกล่าวคำอาราธนาอุโบสถศีลพร้อมกันว่า

มะยัง ภันเต ติสะระเณนะ สะหะ อัฏฐังคะสะมันนาคะตัง อุโปสะถัง
ยาจามะ ฯ (ว่า ๓ หน ทุติยัมปิ ตะติยัมปิ ฯลฯ)
(
คอยตั้งใจว่าตามพระ)

นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ ฯ (ว่า ๓ ครั้ง)
พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ,
ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ,
สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ,
ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ,
ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ,
ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ,
ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ,
ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ,
ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ,

เมื่อพระสงฆ์ว่า สะระณะคะมะนัง นิฏฐิตัง หรือว่า ติสะระณะคะมะ
นัง นิกฐิตัง ดังนี้ พึงกล่าวคำรับพร้อมกันว่า อามะ ภันเต

ตั้งใจสมาทานสิกขาบทว่า
๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
๒. อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
๓. อะพรัหมะจะริยา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
๔. มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
๕. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
๖. วิกาละโภชนา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
๗. นัจจะคีตะวาทิตะวิสูกะทัสสะนา มาลาคันธะ วิเลปะนะธาระณะ มัณฑะนะ วิภูสะนัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
๘. อุจจาสะยะนะมะหาสะยะนา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ อิมัง อัฏฐังคะสะมันนาคะตัง,พุทธะปัญญัตตัง อุโปสะถัง, อิมัญจะรัตติง อิมัญจะ ทิวะสัง, สัมมะเทวะ อะภิรักขิตุง สะมาทิยามิฯ

ข้าพเจ้าขอสมาทานอุโบสถ อันพร้อมไปด้วยองค์แปดประการนี้ เป็นวิธีที่พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติไว้ เพื่อว่าจะรักษาไว้ให้บริสุทธิ์บริบูรณ์ด้วยดี สิ้นวันหนึ่งกับคืนหนึ่ง ณ เวลานี้ ต่อไปพระท่านว่า อิมานิ อัฏฐะ สิกขาปะทานิ อุโปสะถะสีละวะเสนะ (ตุมเหหิอุปาสะกะอุปาสิกา ภูเตหิ) สาธุกัง อักขัณฑัง กัตวา อัปปะมาเทนะ รักขิ ตัพพานิ ฯ พึงรับต่อว่า อามะภันเต ฯ

พระสงฆ์ว่าต่อ
สีเลนะ สุคะติง ยันติ สีเลนะ โภคะสัมปะทา
สีเลนะ นิพพุติง ยันติ ตัสมา สีลัง วิโสธะเย

พึงกราบพร้อมกัน ๓ ครั้ง ต่อนี้ให้นั่งพับเพียบ ประนมมือฟังธรรม เมื่อจบแล้ว พึงให้สาธุการและสวดประกาศตนพร้อมกัน ดังนี้
สาธุ สาธุ สาธุ
อะหัง พุทธัญจะ ธัมมัญจะ สังฆัญจะ สะระณัง คะโต (หญิงว่า คะตา)
อุปาสะกัตตัง (หญิงว่า อุปาสิกัตตัง) เทเสสิง ภิกขุสังฆัสสะ สัมมุขา
เอตัง เม สะระณัง เขมัง เอตัง สะระณะมุตตะมัง
เอตัง สะระระมาคัมมะ สัพพะทุกขา ปะมุจจะเย
ยะถาพะลัง จะเรยยาหัง สัมมาสัมพุทธะสาสะนัง
ทุกขะนิสสะระณัสเสวะ ภาคี อัสสัง (หญิงว่า ภาคินิสสัง)
อะนาคะเต ฯ

นมัสการพระพุทธเจ้า

นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมา สัมพุทธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมา สัมพุทธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมา สัมพุทธัสสะ

(ขอนนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น
ซึ่งเป็นผู้ไกลจากกิเลส ตรัสรู้ชอบได้ด้วยพระองค์เอง)

ชะยะปะริตตัง

มะหากะรุณิโก นาโถ           หิตายะ สัพพะปาณิณัง
ปูเรตตะวา ปาระมี สัพพา              ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ             โหตุ เต ชะยะมังคะลัง
ชะยันโต โธิยา มูเล              สักกะยานังนันทิวัฑฒะโน
เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ             ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล
อะปะราชิตะบัลลังเก              สีเส ปะฐะวิโปกขะเร
อะภิเสเก สัพพะพุทธานัง              อัคคัปปัตโต ปะโมทะติ
สุนักขัตตัง สุมังคะลัง              สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง
สุขะโณ สุมุหุตโต จะ             สุยัฏฐังพรหมจาริสุ
ปะทักขิณัง กายะกัมมัง               วาจากัมมัง ปะทักขิณัง
ปะทักขิณัง มะโนกัมมัง               ปะณิธิเต ปะทักขิณา
ปะทักขิณานิ กัตตะวานะ               ละภันตัตเถ ปะทักขิเณ
ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง            รักขันตุ สัพเพเทวะตา
สัพพะพุทธานุภาเวนะ              สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง                รักขันตุ สัพเพเทวะตา
สัพพะธัมมานุภาเวนะ              สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง                รักขันตุ สัพเพเทวะตา
สัพพะสังฆานภาเวนะ               สะทา โสตถี ภะวันตุ เต

นมัสการพระอะระหันต์ทั้งแปดทิศ

อิมัส มิงมงคลจักรวฬทั้งแปดทิศ ประสิทธิจงมาเป็นกำแพงแก้วทั้งเจ็ดชั้น มาป้องกันห้อมล้อมรอบครอบทั่วอะนัตตา ราชะ เสมานา เขตเต สะมันตา สะตะโยชะนะสะตะสะหัสสานิ พุทธะชาละปะริกเขตเต รักขันตุ สุรักขันตุฯ

อิมัส มิงมงคลจักรวฬทั้งแปดทิศ ประสิทธิจงมาเป็นกำแพงแก้วทั้งเจ็ดชั้น มาป้องกันห้อมล้อมรอบครอบทั่วอะนัตตา ราชะ เสมานา เขตเต สะมันตา สะตะโยชะนะสะตะสะหัสสานิ ธัมมะชาละปะริกเขตเต รักขันตุ สุรักขันตุฯ

อิมัส มิงมงคลจักรวฬทั้งแปดทิศ ประสิทธิจงมาเป็นกำแพงแก้วทั้งเจ็ดชั้น มาป้องกันห้อมล้อมรอบครอบทั่วอะนัตตา ราชะ เสมานา เขตเต สะมันตา สะตะโยชะนะสะตะสะหัสสานิ ปัจเจกะพุทธะ ชาละปะริกเขตเต รักขันตุ สุรักขันตุฯ

อิมัส มิงมงคลจักรวฬทั้งแปดทิศ ประสิทธิจงมาเป็นกำแพงแก้วทั้งเจ็ดชั้น มาป้องกันห้อมล้อมรอบครอบทั่วอะนัตตา ราชะ เสมานา เขตเต สะมันตา สะตะโยชะนะสะตะสะหัสสานิ สังฆะชาละปะริกเขตเต รักขันตุ สุรักขันตุฯ

บารมีสามสิบทัศน์

อิติปิ โส ภะคะวา ทานะปาระมี ทานะอุปะปาระมี
ทานะปะระมัตถะปาระมี คุณะสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา สีละปาระมี สีละอุปะปาระมี
สีละปะระมัตถะปาระมี คุณะสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา เนกขัมมะปาระมี เนกขัมมะอุปะปาระมี
เนกขัมมะปะระมัตถะปาระมี คุณะสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ปัญญาปาระมี ปัญญาอุปะปาระมี
ปัญญาปะระมัตถะปาระมี คุณะสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา วิริยะปาระมี วิริยะอุปะปาระมี
วิริยะปะระมัตถะปาระมี คุณะสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ขันติปาระมี ขันติอุปะปาระมี
ขันติปะระมัตถะปาระมี คุณะสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา สัจจะปาระมี สัจจะอุปะปาระมี
สัจจะปะระมัตถะปาระมี คุณะสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา อธิษฐานะปาระมี อธิฏฐานะ อุปะปาระมี
อธิษฐานะ ปะระมัตถะปาระมี คุณะสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา เมตตาปาระมี เมตตาอุปะปาระมี
เมตตาปะระมัตถะปาระมี คุณะสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา อุเบกขาปาระมี อุเบกขาอุปะปาระมี
อุเบกขาปะระมัตถะปาระมี คุณะสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะธัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ.

ระลึกถึงคุณพระรัตนไตร

(หันทะ มะยัง ระตะนะคุณัง กะโรมะเส)
อิมินา สักกาเรนะ ข้าขอน้อมสักการะบูชา
องค์สมเด็จพระศาสดา ผู้ทรงปัญญาและบารมี
ทรงสง่าด้วยราศี ประเสริฐเลิศดีมีพระคุณ
ทรงมีพระเมตตาเกื้อหนุน แผ่บุญค้ำจุนให้พ้นภัย
ท่านเป็นประทีปดวงสดใส ให้กำเนิดรัตนตรัย ดวงงาม
องค์แห่งรัตนะ มีสาม ระบือนามไปทั่วธานี
องค์พระพุทธชินศรี ตรัสรู้ชอบดีในพระธรรม
ชาวพุทธทุกคนจงจดจำ ช่วยกันแนะนำ ให้แพร่ไป
ทุกคนจะเกิดเลื่อมใส พระธรรมนำสุขใจ สถาพร
ผู้แนะนำซึ่งคำสั่งสอน คือศิษย์พระชินวร ทุกพระองค์
มวลหมู่พระภิกษุสงฆ์ ได้ดำรงค์พระศาสนามา
ลูกขอก้มกราบวันทา พุทธศาสนา จงถาวรเทอญ.

ยอดพระกัณฑ์ไตรปิฏก

1 อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง วะตะ โส ภะคะวา
อิติปิ โส ภะคะวา สัมมาสัมพุทโธ วะตะ โส ภะคะวา
อิติปิ โส ภะคะวา วิชชาจะระณะสัมปันโน วะตะ โส ภะคะวา
อิติปิ โส ภะคะวา สุคะโต วะตะ โส ภะคะวา
อิติปิ โส ภะคะวา โลกะวิทู วะตะ โส ภะคะวา

อะระหันตัง สะระณัง คัจฉามิ อะระหันตัง สิระสา นะมามิ
สัมมาสัมพุทธัง สะระณัง คัจฉามิ, สัมมาสัมพุทธัง สิระสา นะมามิ
วิชชาจะระณะสัมปันนัง สะระณัง คัจฉามิ วิชชาจะระณสัมปันนัง สิระสา นะมามิ
สุคะตัง สะระณัง คัจฉามิ สุคะตัง สิระสา นะมามิ
โลกะวิทัง สะระณัง คัจฉามิ โลกะวิทัง สิระสา นะมามิ

2 อิติปิ โส ภะคะวา อะนุตตะโร วะตะ โส ภะคะวา
อิติปิ โส ภะคะวา ปุริสะทัมมะสาระถิ วะตะ โส ภะคะวา
อิติปิ โส ภะคะวา สัตถา เทวะมะนุสสานัง วะตะ โส ภะคะวา
อิติปิ โส ภะคะวา พุทโธ วะตะ โส ภะคะวา

อะนุตตะรัง สะระณัง คัจฉามิ อะนุตตะรัง สิระสา นะมามิ

ปุริสะทัมมะสาระถิ สะระณัง คัจฉามิ ปุริสะทัมมะสาระถิ สิระสา นะมามิ
สัตถา เทวะมะนุสสานัง สะระณัง คัจฉามิ สัตถา เทวมะนุสสานัง สิระสา นะมามิ
พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ พุทธัง สิระสา นะมามิ.

3 อิติปิ โส ภะคะวา รูปะขันโธ อะนิจจะลักขะณะปาระมิ จะ สัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา เวทะนาขันโธ อะนิจจะลักขะณะปาระมิ จะ สัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา สัญญาขันโธ อะนิจจะลักขะณะปาระมิ จะ สัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา สังขาระขันโธ อะนิจจะลักขะณะปาระมิ จะ สัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา วิญญาณะขันโธ อะนิจจะลักขะณะปาระมิ จะ สัมปันโน

4 อิติปิ โส ภะคะวา ปะฐะวี ธาตุ สะมาธิญาณะ สัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา อาโป ธาตุ สะมาธิญาณะ สัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา เตโช ธาตุ สะมาธิญาณะ สัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา วาโย ธาตุ สะมาธิญาณะ สัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา อากาสะ ธาตุ สะมาธิญาณะ สัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา วิญญาณะ ธาตุ สะมาธิญาณะ สัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา จักกะวาฬะ ธาตุ สะมาธิญาณะ สัมปันโน

5 อิติปิ โส ภะคะวา จาตุมมะหาราชิกา ธาตุ สะมาธิญาณะ สัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ตาวะติงสา ธาตุ สะมาธิญาณะ สัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ยามา ธาตุ สะมาธิญาณะ สัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา ตุสิตา ธาตุ สะมาธิญาณะ สัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา นิมมานะระตี ธาตุ สะมาธิญาณะ สัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ปะระนิมมิตะวะสะวัตตี ธาตุ สะมาธิญาณะ สัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา กามาวะจะระ ธาตุ สะมาธิญาณะ สัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา รูปาวะจะระ ธาตุ สะมาธิญาณะ สัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา อะรูปาวะจะระ ธาตุ สะมาธิญาณะ สัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา โลกุตตะระ ธาตุ สะมาธิญาณะ สัมปันโน

6 อิติปิ โส ภะคะวา ปะฐะมะฌานะ ธาตุ สะมาธิญาณะ สัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ทุติยะฌานะ ธาตุ สะมาธิญาณะ สัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ตะติยะฌานะ ธาตุ สะมาธิญาณะ สัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา จะตุตถะฌานะ ธาตุ สะมาธิญาณะ สัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ปัญจะมาฌานะ ธาตุ สะมาธิญาณะ สัมปันโน

7 อิติปิ โส ภะคะวา อากาสานัญจายะตะนะ ธาตุ สะมาธิญาณะ สัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา วิญญาณัญจายะตะนะ ธาตุ สะมาธิญาณะ สัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา อากิญจัญญายะตะนะ ธาตุ สะมาธิญาณะ สัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา เนวะสัญญานาสัญญายะตะนะ ธาตุ สะมาธิญาณะ สัมปันโน

8 อิติปิ โส ภะคะวา โสตาปัตติมัคคะ ธาตุ สะมาธิญาณะ สัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา สะกิทาคามิมัคคะ ธาตุ สะมาธิญาณะ สัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา อะนาคามิมัคคะ ธาตุ สะมาธิญาณะ สัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัตตะมัคคะ ธาตุ สะมาธิญาณะ สัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา โสตาปัตติผะละ ธาตุ สะมาธิญาณะ สัมปะนโน
อิติปิ โส ภะคะวา สะกิทาคามิผะละ ธาตุ สะมาธิญาณะ สัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา อะนาคามิผะละ ธาตุ สะมาธิญาณะ สัมปะรโน

อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัตตะผะละ ธาตุ สะมาธิญาณะ สัมปันโน

9 กุสะลา ธัมมา อิติปิ โส ภะคะวา อะอา ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ.
ชัมพูทีปัญจะ อิสสะโร กุสะลา ธัมมา นะโม พุทธายะ นะโม ธัมมายะ นะโม

สังฆายะ ปัญจะพุทธา นะมามิหัง อาปามะจุปะ ทีมะสังอังขุ สังวิธาปุกะยะปะ อุปะสะชะสะเห ปาสายะโส โสโสสะอะ อะอะอะนิ เตชะสุเนมะภูจะนา วิเว

อะสังวิสุโลปุสะพุภะ อิสะวาสุ สุสะวาอิ กุสะลา ธัมมา จิตติ วิอัตถิ

10 อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง อะอา ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
สาโพธิปัญจะ อิสสะโร ธัมมา กุสะลา ธัมมา นันทะวิวังโก อิติ

สัมมาสัมพุทโธ สุคะลาโน ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิจาตุมมะหาราชิกา

อิสสะโร กุสะลา ธัมมา อิติ วิชชาจะระณะสัมปันโน อุอู ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ.
ตาวะติงสา อิสสะโร กุสะลา ธัมมา นันทะปัญจะ สุคะโต โลกะวิทู มะหาเอโอ ยาวะชีวัง
พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ. ยามา อิสสะโร กุสะลา ธัมมา พรัหมาสัททะ ปัญจะสัตตะสัตตา

ปาระมี อะนุตตะโร ยะมะกะขะ ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ

ตุสิตา อิสสะโร กุสะลา ธัมมา ปุกะยะปะ ปุริสะทัมมะสาระถิ ยาวะชีวัง
พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ นิมมานะระตี อิสะโร กุสะลา ธัมมา เหตุโปวะ

สัตถา เทวะมะนุสสานัง ตะถา ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ

ปะระนิมมิตะวะสะวัตตี อิสสะโร กุสะลา ธัมมา สังขารักขันโธ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา
รูปักขันโธ พุทธะ ปะผะ ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ

พรัหมา อิสสะโร กุสะลา ธัมมา นัตถิปัจจะยา วินะปัญจะ ภะคะวะตา
ยาวะนิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ

11 นะโม พุทธัสสะ นะโม ธัมมัสสะ นะโม สังฆัสสะ พุทธิลาโภกะลา กะระ กะนา เอเตนะ
สัจเจนะ สุวัตถิ โหนตุ หุลู หุลู หุลู สะวาหายะ

นะโม พุทธัสสะ นะโม ธัมมัสสะ นะโม สังฆัสสะ วิตติ วิตติ วิตติ มิตติ มิตติ มิตติ จิตติ
จิตติ วัตติ วัตติ มะยะสุ สุวัตถิ โหนตุ หุลู หุลู หุลู สะวาหายะ

อินทะสาวัง มหาอินทะสาวัง พรัหมะสาวัง มะหาพรัหมสาวัง
จักกะวัตติสาวัง มะหาจักกะวัตติสาวัง เทวาสาวัง มะหาเทวาสาวัง

อิสิสาวัง มะหาอิสิสาวัง มุนีสาวัง มะหามุนีสาวัง

สัปปุริสะสาวัง มะหาสัปปุริสะสาวัง พุทธะสาวัง
ปัจเจกะพุทธะสาวัง อะระหัตตะสาวัง สัพพะสิทธิวิชชาธาระณังสาวัง

สัพพะโลกา อิริยานังสาวัง เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหนตุ

สาวัง คุณัง วิชชา วะชะ พะลัง เตชัง วิริยัง สิทธิกัมมัง ธัมมัง สัจจัง
นิพพานัง โมกขัง คุยหะกัง ทานัง สีลัง ปัญญานิกขัง ปุญญัง
ภาคะยัง ตะปัง ยะสัง สุขัง สิริรูปัง จะตุวีสะติเทสะนัง
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหนตุ หุลู หุลู หุลู สะวาหายะ

12 นะโม พุทธัสสะ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา รูปะขันโธ เวทะนาขันโธ สัญญาขันโธ
สังขาระขันโธ วิญญาณะขันโธ นะโม อิติปิ โส ภะคะวา

นะโม ธัมมัสสะ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา รูปะขันโธ เวทะนาขันโธ สัญญาขันโธ
สังขาระขันโธ วิญญาณะขันโธ นะโม สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม

นะโม สังฆัสสะ ทุกขัง อนิจจัง อะนัตตา รูปะขันโธ เวทะนาขันโธ
สัญญาขันโธ สังขาระขันโธ วิญญารณะขันโธ นะโม

สุปฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ วาหะปะริตตัง

นะโม พุทธายะ มะอะอุ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา ยาวะตัสสะ หาโย
โมนะ อุอะมะ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา อุอะมะอะ วันทา

นะโม พุทธายะ นะอะ กะติ นิสะระณะ อาระปะขุทธัง มะอะอุ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา

ทำวัตรเย็น

(เมื่อหัวหน้าจุด เทียน ธูป พึงนั่งคุกเขาประนมมือพร้อมกัน หัวหน้านำให้ว่าตามทีละตอน)
โย โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
สวากขาโต เยนะ ภะคะวะตา ธัมโม
สุปะฏิปันโน ยัสสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
ตัม มะยัง ภะคะวันตัง สะธัมมัง สะสังฆัง
อิเมหิ สักกาเรหิ ยะถาระหัง อาโรปิเตหิ อะภิปูชะยามะ
สาธุ โน ภันเต ภะคะวา สุจิระปะรินิพพุโตปิ
ปัจฉิมาชะนะตานุกัมปะมานะสา
อิเม สักกาเร ทุคคะตะปัณณาการะภูเต ปะฏิคคัณหาตุ
อัมหากัง ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะ

อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา
พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ
(
กราบ)

สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม
ธัมมัง นะมัสสามิ
(
กราบ)

สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
สังฆัง นะมามิ
(
กราบ)

(นำ) หันทะ มะยัง พุทธัสสะ ภะคะวะโต ปุพพะภาคะนะมะการัญเจวะ พุทธานุสสะตินะยัญจะ กะโรมะ เสฯ
(
รับ)   นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ

(นำ) หันทะ มะยัง พุทธาภิคีติง กะโรมะ เส
(
รับ) พุทธวาระหันตะวะระตาทิคุณาภิยุตโต
สุทธาภิญาณะกะรุณาหิ สะมาคะตัตโต
โพเธสิ โย สุชะนะตัง กะมะลังวะ สูโร
วันทามะหัง ตะมะระณัง สิราสา ชิเนนทัง
พุทโธ โย สัพพะปาณีนัง  สะระณัง เขมะมุตตะมัง
ปะฐะมานุสสะติฏฐานัง     วันทามิ ตัง สิเรนะหัง
พุทธัสสาหัสมิ ทาโส วะ     พุทโธ เม สามิกิสสะโร
พุทโธ ทุกขัสสะ ฆาตา จะ  วิธาตา จะ หิตัสสะ เม
พุทธัสสาหัง นิยยาเทมิ     สะรีรัญชีวิตัญจิทัง
วันทันโตหัง จะริสสามิ      พุทธัสเสวะ สุโพธิตัง
นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง พุทโธ เม สะระณัง วะรัง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ       วัฑเฒยยัง สัตถุ สาสะเน
พุทธัง เม วันทะมาเนนะ     ยัง ปุญญัง ปะสุตัง อิธะ
สัพเพปิ อันตะรายา เม      มาเหสุง ตัสสะ เตชะสา ฯ
(
กราบหมอบลงว่า)
กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา
พุทเธ กุกัมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง
พุทโธ ปะฏิคคัณหะตุ อัจจะยันตัง
กาลันตะเร สังวะริตุง วะ พุทเธฯ

(นั่งคุกเข่าว่า)
(
นำ) หันทะ มะยัง ธัมมานุสสะตินะยัง กะโรมะ เสฯ
(
รับ) สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก, โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหิติฯ
(
นำ) หันทะ มะยัง ธัมมาภิคีติง กะโรมะ เสฯ
(
รับ) สวากขาตะตาทิคุณะโยคะวะเสะ เสยโย
โย มัคคะปากะปะริยัตติวิโมกขะเภโท
ธัมโม กุโลกะปะตะนา ตะทะธาริธารี
วันทามะหัง ตะมะหะรัง วะระธัมมะเมตัง
ธัมโม โย สัพพะปาณีนัง      สะระณัง เขมะมุตตะมัง
ทุติยานุสสะติฏฐานัง          วันทามิ ตัง สิเรนะหัง
ธัมมัสสาหัสมิ ทาโส วะ        ธัมโม เม สามิกิสสะโร
ธัมโม ทุกขัสสะ ฆาตา จะ     วิธาตา จะ หิตัสสะ เม
ธัมมัสสาหัง นิยยาเทมิ        สะรีรัญชีวิตตัญจิทัง
วันทันโตหัง จะริสสามิ        ธัมมัสเสวะ สุธัมมะตัง
นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง   ธัมโม เม สะระณัง วะรัง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ         วัฑเฒยยัง สัตถุ สาสะเน
ธัมมัง เม วันทะมาเนนะ       ยัง ปุญญัง ปะสุตัง อิธะ
สัพเพปิ อันตะรายา เม       มาเหสุง ตัสสะ เตชะสาฯ
(
กราบหมอบลงว่า)

กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา
พุทเธ กุกัมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง
ธัมโม ปะฏิคคัณหะตุ อัจจะยันตัง
กาลันตะเร สังวะริตุง วะ ธัมเมฯ
(
นั่งคุกเข่าว่า)

(นำ) หันทะ มะยัง สังฆานุสสะตินะยัง กะโรมะ เสฯ
(
รับ) สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, ญายะปะฏิปันโน ภะคะกะสังโฆ, สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, ยะทิทัง จัตตาริปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา, เอสะ ภะวะคะโต สาวะกะสังโฆ, อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย, อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติฯ

(นำ) หันทะ มะยัง สังฆาภิคีติง กะโรมะ เสฯ
(
รับ) สัทธัมมะโช สุปะฏิปัตติคุณาทิยุตโต
โยฏฐัพพิโธ อะริยะปุคคะละสังฆะเสฏโฐ
สีลาทธัมมะปะวะราสะยากายะจิตโต
วันทามะหัง ตะมะริยานะ คะณัง สุสุทธัง
สังโฆ โย สัพพะปาณีนัง           สะระณัง เขมะมุตตะมัง
ตะติยานุสสะติฏฐานัง              วันทามิ ตัง สิเรนะหัง
สังฆัสสาหัสมิ ทาโส วะ             สังโฆ เม สามิกิสสะโร
สังโฆ ทุกขัสสะ ฆาตา จะ          วิธาตา จะ หิตัสสะ เม
สังฆัสสาหัง นิยยาเทมิ             สะรีรัญชีวิตัญจิทัง
วันทันโตหัง จะริสสามิ             สังฆัสโสปะฏิปันนะตัง
นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง        สังโฆ เม สะระณัง วะรัง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ              วัฑเฒยยัง สัตถุ สาสะเน
สังฆัง เม วันทะมาเนนะ            ยัง ปุญญัง ปะสุตัง อิธะ
สัพเพปิ อันตะรายา เม             มาเหสุง ตัสสะ เตชะตาฯ
(
กราบหมอบลงว่า)

กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา
สังเฆ กุกัมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง
สังโฆ ปะฏิคคัณหะตุ อัจจะยันตัง
กาลันตะเร สังวะริตุง วะ สังเฆฯ
(
นั่งพับเพียบ)

(สตรีเล่าบ่นและสวดแปลกอย่างนี้ พุทธัสสาหัสมิ ทาสีวะฯ ธัมมัสสาหัสมิ ทาสีวะฯ  สังฆัสสาหัสมิ  ทาสีวะ ฯ วันทันตีหังฯ พุทธัง เม วันทะมานายะฯ
ธัมมัง เม วันทะมานายะฯ สังฆัง เม วันทะมานายะ ถ้าคฤหัสถ์ทั้งบุรุษสตรีสวดมีความรังเกียจด้วยอสภาวะนิรุตินิ่งอยู่ บุรุษจะสวดว่า วันทะมาโน
จะริสสามิ สตรีจะสวดว่า วันทะมานา จะริสสามิ ดังนี้พร้อมกันไป ดัง คะโต คะตา ฉะนั้นก็ควร ก็แปลว่า ไหว้อยู่เหมือนกัน)

พุทธชัยมงคลคาถา (พาหุง)

1. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง
ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง
ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ

2. มาราติเรกะมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง
โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง
ขันตีสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
ตันเตชะสา ภะวะตุเต ชะยะมังคะลานิ

3. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง
ทาวักคิจักกะมาสะนีวะ สุทารุณันตัง
เมตตัมพุเสกะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ

4. อุขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง
ธาวันติโยชนะปะถังคุลิมาละวันตัง
อิทธีภิสังขะตะมะโน ชิตะวา มุนินโท
ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ

5. กัตตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา
จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ
สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ

6. สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง
วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง
ปัญญาปะทีปชะลิโต ชิตะวา มุนินโท
ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ

7. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิธธิง
ปุตเตนะ เภระภุชะเคนะ ทะมาปะยันโต
อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ

8.ทุคคาหะทิฏฐิภะชะเคนะ สุทัฏฐะหตถัง
พรหมมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง
ญาณะคะเทนะ วิธินา ชิตะวา มุนินโท
ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ

9. เอตาปิ พุทธะชะยะมังคละอัฏฐะคาถา
โย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที
หิตวานะเนกะวิวิธานิ จะปัททะวานิ
โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ

 

กรวดน้ำ / แผ่เมตตา

กรวดน้ำ อิมินา
(
นำ) หันทะมะยัง อุทิศสะนาฐิฏฐานะคาถาโย ภะณามะเส
(
รับ) อิมินา ปุญญะกัมเมนะ, อุปัชฌายา คุณุตตะรา,
อาจาริยูปะการา จะ, มาตาปิตา จะ ญาตะกา (ปิยา มะมัง)
สุริโย จันทิมา ราชา, คุณะวันตา นะราปิ จะ,
พรัมมะมารา จะ อินทา จะ, โลกะปาลา จะเทวะตา,
ยะโม มิตตา มะนุสสา จะ, มัชฌัตตา เวริกาปิ จะ,
สัพเพ สัตตา สุขี โหนตุ, ปุญญานิ ปะกะตานิ เม,
สุขัง จะ ติ วิธัง เทนตุ, ขิปปัง ปาเปถะ โว มะตัง,
อิมินา ปุญญะกัมเมนะ, อิมินา อุททิเสนะ จะ,
ขิปปาหัง สุละเภ เจวะ, ตัณหุปาทานะเฉทะนัง,
เย สันตาเน หินา ธัมมา, ยาวะ นิพพานะโต มะมัง,
นัสสันตุ สัพพะทา เยวะ, ยัตถะ ชาโต ภะเว ภะเว,
อุชุจิตตัง สะติปัญญา, สัลเลโข วิริยัมหินา,
มารา ละภันตุ โนกาสัง, กาตุญจะ วิริเยสุ เม,
พุทธาทิปะวะโร นาโถ, ธัมโม นาโถ วะรุตตะโม,
นาโถ ปัจเจกะพุทโธ จะ, สังโฆ นาโถตตะโร มะมัง,
เตโสตตะมานุภาเวนะ, มาโรกาสัง ละภันตุ มา.

คำแผ่เมตตาให้แก่ตนเอง
อะหัง สุขิโต โหมิ, ขอให้ข้าพเจ้า จงมีความสุข
อะหัง นิททุกโข โหมิ, ขอให้ข้าพเจ้าจงปราศจากทุกข์
อะหัง อเวโร โหมิ, ขอให้ข้าพเจ้าจงปราศจากเวร
อะหัง อัพยาปัชโฌ โหมิ, ขอให้ข้าพเจ้าจงปราศจากความลำบาก
อะหัง อะนีโฆ โหมิ, ขอให้ข้าพเจ้าจงปราศจากอุปสรรค
สุขี อัตตานัง ปะริหะรามิ, รักษาตนให้มีความสุขตลอดกาลนานเทอญ

คำแผ่เมตตา
สัพเพ สัตตา, สัตว์ทั้งหลาย ที่เป็นเพื่อนทุกข์ เกิด แก่ เจ็บ ตาย  ด้วยกันหมดทั้งสิ้น
อะเวรา, จงเป็นสุขๆ เถิด อย่าได้มีเวรแก่กันและกันเลย
สัพเพ สัตตา, สัตว์ทั้งหลาย ที่เป็นเพื่อนทุกข์ เกิด แก่ เจ็บ  ตายด้วยกันหมดทั้งสิ้น
อัพยาปัชฌา, จงเป็นสุขๆ เถิด อย่าได้เบียดเบียนซึ่งกันและกันเลย
สัพเพ สัตตา, สัตว์ทั้งหลาย ที่เป็นเพื่อนทุกข์ เกิด แก่ เจ็บ ตาย ด้วยกันหมดทั้งสิ้น
อะนีฆา, จงเป็นสุขๆ เถิด อย่าได้มีความทุกข์กายทุกข์ใจเลย
สัพเพ สัตตา, สัตว์ทั้งหลาย ที่เป็นเพื่อนทุกข์ เกิด แก่ เจ็บ ตาย ด้วยกันหมดทั้งสิ้น
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ, จงมีความสุขกายสุขใจ รักษาตนให้พ้นจากทุกข์ภัยอันตรายทั้งสิ้นเทอญ ฯ

บทขออุทิศส่วนกุศล
ข้าพเจ้าตั้งจิตอุทิศผล บุญกุศลนี้แผ่ไปให้ไพศาล
ถึงบิดามารดาครูอาจารย์ ทั้งลูกหลานญาติมิตรสนิทกัน
คนเคยร่วมรักสมัครใคร่ ขอให้มีส่วนได้ในกุศลผลของฉัน
ทั้งเจ้ากรรมนายเวรและเทวัญ ขอให้ท่านได้กุศลผลนี้เทอญ….

ด้วยอานุภาพแห่งบุญกุศลที่ข้าพเจ้าได้บำเพ็ญมาแล้วในวันนี้ มีศีลทาน ภาวนา เป็นต้น จงมาเป็นตบะ พลวปัจจัย เป็นอุปนิสัยตามส่ง ให้เกิดสติปัญญาญาณ รู้แจ้งเห็นจริง ในสัจธรรมตามคำสั่งสอน ขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทั้งชาตินี้และชาติหน้า ตลอดชาติอย่างยิ่ง จนถึงความพ้นทุกข์ คือพระนิพพานเทอญฯ

กรวดน้ำให้มาร
ปัญจะมาเร, ชิโน นาโถ, ปัตโต สัมโพ, ธิมุตตะมัง, จะตุสัจจัง,
ปะกาเสติ, มะหาเวรัง, นะมามิหัง, เอเตนะ, สัจจะวัชเชนะ,
สัพเพ มารา, ปาลายันติ
(
คุกเข่า)
วันทามิ ภันเต สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต
มะยา กะตัง ปุญญัง สามินา อะนุโมทิตัพพัง
สามินา กะตัง ปุญญัง มัยหัง ทาตัพพัง สาธุ สาธุ อะนุโมทามิ.

คำกราบพระรัตนตรัย
อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธังภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ
(
กราบ)
สวากขาโต ภะคะวะตาธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ,
(
กราบ)
สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ,
(
กราบ)
มัยหัง มาตาปิตุนัง วะปาเท, วันทา มิสาทะรัง,
(
กราบ)
ปัญญาวุฒิ กะเร เต, เต ทินโนวาเท นะมามิหัง,
(
กราบ)

สรณคมน์

พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ

นมัสการพระอะระหันต์ทั้งแปดทิศ

(นำ) หันทะ มะยัง สะระภัญเญนะ พุทธะมังคะละคาถาโย ภะณามะเส ฯ
(
รับ)       สัมพุทโธ ทิปะทัง เสฏโฐ          นิสินโน เจวะ มัชฌิเม
โกณฑัญโญ ปุพพะภาเค จะ           อาคะเณยเย จะ กัสสะโป
สารีปุตโต จะ ทักขิเณ            หะระติเย อุปาลี จะ
ปัจฉิเมปิ จะ อานันโท            พายัพเพ จะคะวัมปะติ
โมคคัลลาโน จะ อุตตะเร           อิสาเณปิ จะ ราหุโล
อิเม โข มังคะลา พุทธา           สัพเพ อิธะ ปะติฏฐิตา
วันทิตา เต จะ อัมเหหิ           สักกาเรหิ จะ ปูชิตา
เอเตสัง อานุภาเวนะ          สัพพะโสตถี ภะวันตุ โน
อิเจวะมัจจันตะนะมัสสะเนยยัง
นะมัสสะมาโน ระตะนัตตะยัง ยัง
ปุญญาภิสันทัง วิปุลัง อะลัตถึง
ตัสสานุภาเวนะ หะตันตะราโย ฯ

มงคลจักรวาฬน้อย

สัพพะพุทธานุภาเวนะ สัพพะธัมมานุภาเวนะ สัพพะสังฆานุภาเวนะ พุทธะระตะนัง ธัมมะระตะนัง สังฆะระตะนัง ติณณัง

ระตะนานัง อานุภาเวนะ จะตุราสีติสะหัสสะธัมมักขันธานุภาเวนะ ปิฏะกัตตะยานุภาเวนะ ชินะสาวะกานุภาเวนะ สัพเพ เต โรคา สัพเพ เต ภะยา สัพเพ เต อันตะรายา สัพเพ เต อุปัทวา สัพเพ เต ทุนนิมิตตา สัพเพ เต อะวะมังคะลา วินัสสันตุ อายุวัฑฒะโก ธะนะวัฑฒะโก สิริวัฑฒะโก ยะสะวัฑฒะโก พะละวัฑฒะโก วัณณะวัฑฒะโก สุขะวัฑฒะโก โหตุ สัพพะทา,

ทุกขะโรคะภะยา เวรา, โสกา สัตตุ จุปัทวา,
อะเนกา อันตะรายาปิ, วินัสสันตุ จะ เตชะสา,
ชะยะสิทธิ ธะนัง ลาภัง, โสตถิ ภาคยัง สุขัง พะลัง,
สิริ อายุ จะ วัณโณ จะ, โภคัง วุฑฒี จะ ยะสะวา,
สะตะวัสสา จะ อายุ จะ, ชีวะสิทธิ ภะวันตุ เต,
ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง, รักขันตุ สัพพะเทวะตา,
สัพพะพุทธานุภาเวนะ, สะทา โสตถี ภะวันตุ เต,
ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง, รักขันตุ สัพพะเทวะตา,
สัพพะธัมมานุภาเวนะ, สะทา โสตถี ภะวันตุ เต,
ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง, รักขันตุ สัพพะเทวะตา,
สัพพะสังฆานุภาเวนะ, สะทา โสตถี ภะวันตุ เต.

ชุมนุมเทวดา

ผะริตวานะ เมตตัง สะเมตตา ภะทันตา
อะวิกขิตตะจิตตา ปะริตตัง ภะณันตุ
สัคเค กาเม จะ รูเป คิริสิขะระตะเฏ จันตะลิกเข วิมาเน,
ทีเปรัฏเฐ จะคาเม ตะรุวะนะคะหะเน เคหะวัตถุมหิ เขตเต,
ภุมมา จายันตุ เทวา ชะละถะละ วิสะเม ยักขะคันธัพพะนาคา,
ติฏฐันตา, สันติเก ยัง มุนิวะระวะจะนัง สาธะโว เม สุณันตุ
ธัมมัสสะวะนะกาโล อะยัมถะทันตา, ธัมมัสสะวะนะกาโล
อะยัมถะทันตา, ธัมมัสสะวะนะกาโล อะยัมถะทันตา ฯ

คำแปล

สาธุ สัคเค ข้าพเจ้าขออัญเชิญฝูงเทพยเจ้า ซึ่งสิงสถิตย์อยู่ในฉกามาพจรสวรรค์ กาเม อยู่ในกา
ภพ, จะ รูเป อยู่ในรูปภพ คือ โสฬสมหาพรหม
คิริสิขะระตะเฏ อีกทั้งเทพยเจ้าซึ่งสิงสถิตย์อยู่ในภูผาห้วงเหวและคูหายอดคีรี
จันตะลิกเข วิมาเน, อยู่ในอากาศวิมานมาศมณเฑียรทอง
ทีเปรัฏเฐ จะคาเม สิงสถิตย์อยู่ในเกาะแก้วเมืองหลวง และพระนครใหญ่น้อย
ตะรุวะนะคะหะเน เคหะวัตถุมหิ เขตเต, สิงสถิตย์อยู่ในเคหะสถานบ้านน้อยและเมืองใหญ่ทั่วทุกชนบท
ภุมมา ซึ่งสิงสถิตย์ปรากฎในโรงศาลพระภูมิเจ้าที่
จายันตุ เทวา ข้าพเจ้าขออัญเชิญให้เร่งรับเข้ามาในเวลาวันนี้ให้พร้อมกัน
ชะละถะละวิสะเม อีกทั้งเทพยเจ้าซึ่งสิงสถิตย์อยู่ในห้วยหนองคลองบึงบางแม่น้ำใหญ่ ไพรพฤกษาทุกหย่อมหญ้าลดาวัลย์ที่เสมอกันก็ดี ไม่เสมอกันก็ดี
ยักขะคันธัพพะนาคา, ใช่แต่เท่านั้นเมื่อไร มีอีกทั้ง ยักษา คนธรรพ์ ครุฑ นาคา
ติฏฐันตา, อีกทั้งเทพยเจ้าซึ่งสิงสถิตย์อยู่ในสถาน
สันติเก ยัง มุนิวะระวะจะนัง ข้าพเจ้าขออัญเชิญเข้ามายังสำนักแห่งนักปราชญ์ อาจสำแดงธรรม
สาธะโว เม สุณันตุ ดูก่อนสัปบุรุษพุทธบริษัททั้งหลายเอ๋ยถึงเวลาฤกษ์งามยามดี
ธัมมัสสะวะนะกาโล ข้าพเจ้าขออัญเชิญให้เข้ามาสดับตรับฟังพระสัทธรรมพร้อมกัน
อะยัมถะทันตา, ดูก่อนท่านผู้ประเสริฐยอดยิ่งกว่ามนุษย์และเทวดา
ข้าพเจ้า ขออัญเชิญมามั่วสุมประชุมให้พร้อมเพรียงกันในสถานที่นี้เถิด

บูชาพุทธคุณทั้งห้า

ข้าขอไหว้พระพุทธ     บริสุทธิ์ด้วยปัญญา
พระคุณกรุณา     แก่ประชา ชนิกร
ไหว้ธรรมล้ำเลิศสุด     ที่พระพุทธทรงสั่งสอน
พระธรรมเทิดสุนทร     สอนใจให้ใฝ่แต่ดี
ไหว้สงฆ์ทรงศีลสัตย์     ปฏิบัติบ่มอินทรีย์
แพร่ธรรมทั่วธานี     ทางพร้อมน้อมใจตน  
ไหว้ท่านผู้เมตตา     คือบิดา-มารดาตน
เลี้ยงลูกยั่งยืนชนม์     จนเติบใหญ่ ไม่อาดูร
ไหว้คุณครูอาจารย์     สอนเขียนอ่านปัญญาพูน
แนะนำพร่ำเกื้อกูล     ให้ศิษย์เกิดปรีชาชาญ
ข้าขอยอหัตถ์ไหว้     ละน้อมใจอธิษฐาน
พระคุณท่านบันดาน     มีแต่ความจำเริญ เทอญฯ

 

Enter supporting content here