imga0444.jpg

old home
Activities
BWCS
WEBBOARD
KING&QUEEN
BWCS NEWS
Chinese Academics
ANUBAN CHILD
INFO NEWS
Programs
SPORT
Activities
Buddha Bless
Calendar Plan
Links
Contact Us

Chinese Academics

ภาพวาดตัวละครหลักในสามก๊ก
 
สามก๊ก ในบทความนี้เป็นชื่อวรรณกรรม สำหรับยุคในประวัติศาสตร์จีนในช่วง ค.ศ. 220-280 ดูที่ ยุคสามก๊ก
ภาพวาดตัวละครหลักในสามก๊ก
ขยาย
ภาพวาดตัวละครหลักในสามก๊ก

สามก๊ก (อังกฤษ: Romance of the Three Kingdoms; จีนตัวเต็ม: 三國演義; จีนตัวย่อ: 三国演义; พินอิน: sān guó yǎn yì) สามก๊กแต่งขึ้นประมาณช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 14 ในสมัยราชวงศ์หยวน โดย หลอกว้านจง (Luo Guanzhong) กล่าวถึงประวัติศาสตร์จีนในยุคสามก๊ก (ค.ศ. 220-280) เป็นเรื่องการชิงอำนาจในช่วงปลายราชวงศ์ฮั่น ของก๊กต่างๆ อันประกอบด้วยวุยก๊ก (เว่ย 魏) จ๊กก๊ก (สู่ 蜀) และง่อก๊ก (อู๋ 吳) จนไปถึงการสถาปนาราชวงศ์จิ้นโดยสุมาเอี๋ยนหลานชายของสุมาอี้ (บุตรชายของสุมาเจียว) สามก๊กเป็นหนึ่งในสี่สุดยอดวรรณกรรมจีนร่วมกับไซอิ๋ว ซ้องกั๋ง และความฝันในหอแดง

ฉบับภาษาไทยมีหลายสำนวนแปล ที่โด่งดังคือฉบับของเจ้าพระยาพระคลัง (หน) และยาขอบ (สามก๊กฉบับวณิพก)

ได้รับการยกย่องจากองค์กรยูเนสโกให้เป็นสุดยอดวรรณกรรมชิ้นหนึ่งของโลกด้วย

[แก้] ตัวละครหลัก

รายชื่อตัวละครในประเทศไทย แปลมาจากงานเขียนของเจ้าพระยาคลัง (หน) ซึ่งแปลตามสำเนียงฮกเกี้ยน ไม่ใช่จีนกลาง

[แก้] เนื้อเรื่อง

ดูที่ เนื้อเรื่อง สามก๊ก

[แก้] Link ภายนอก

รายชื่อคนในสามก๊ก English-ไทย

 

sunbliss.jpg

Hàn  yŭ   Pīn   yīn   Zì   mŭ
อักษรแทนเสียงสระ

a

(1) มีเสียงเทียบเคียงได้กับเสียง "อา" เวลาออกเสียงให้อ้าปากออกกว้างมากที่สุด และตำแหน่งของลิ้นก็จะอยู่ต่ำสุด รูปริมฝีปากจะไม่เป็นรูปวงกลม
o (2) มีเสียงเทียบเคียงได้กับเสียง "โอ" เวลาออกเสียงให้อ้าปากกว้างในระดับปานกลาง ตำแหน่งลิ้นอยู่ในระดับสูงปานกลางค่อนไปข้างหลัง ริมฝีปากมีรูปลักษณะกลม
e (3) มีเสียงเทียบเคียงได้กับเสียง "เออ" เวลาออกเสียงให้อ้าปากอยู่ในระดับปานกลาง และตำแหน่งของลิ้นก็จะอยู่ในระดับสูงปานกลางค่อนไปข้างหลัง รูปริมฝีปากจะไม่เป็นรูปวงกลม
ê (4) มีเสียงเทียบเคียงได้กับเสียง "เอ" เวลาออกเสียงให้อ้าปากแบะออกด้านข้างกว้างกว่าการออกเสียงตัว "e" และ " นี้ จะสามารถไปผสมกับอักษรแทนเสียงสระตัว "i" กับ " เป็น "ie" กับ " ได้เท่านั้น
-i (5) มีเสียงเทียบเคียงได้กับเสียงควบ "ยี + อี" เวลาออกเสียงให้อ้าปากอยู่ในระดับน้อยที่สุดและให้ริมฝีปากแบนราบ ตำแหน่งของลิ้นให้อยุ่ในระดับสูงค่อนมาข้างหน้า (แต่อย่าเคลื่อนไหวในขณะที่เปล่งเสียงออกมาและให้ริมฝีปากกางออกไปทางด้านข้างทั้งสองด้าน)

-u

(6) มีเสียงเทียบเคียงได้กับเสียง "อู" เวลาออกเสียงให้อ้าปากออกน้อยที่สุด และให้รูปริมฝีปากเป็นรูปวงกลมมากที่สุดตำแหน่งของลิ้นให้ลอยอยู่ในระดับสูงและค่อนไปข้างหลัง (แต่อย่าเคลื่อนไหวในขณะเปล่งเสียงออกมา และให้ย่นริมฝีปากเข้าหากัน)
ü (7) ก่อนที่จะเปล่งเสียงออกมา จะต้องย่นริมฝีปากเข้าหากันเป็นรูเล็กๆ (เหมือนกับรูปปากท่าในขณะเป่านกหวีด) และให้รูปริมฝีปากมีรูปวงกลมเล็กแต่จะไม่ยื่นริมฝีปากออกมาเหมือนกับรูปปากที่เปล่งเสียงตัว "u" ตำแหน่งของลิ้นค่อนมาข้างหน้ามีลักษณะนูนสูงขึ้นและรูปริมฝีปากจะมีรูปตรงกันข้ามกับรูปปากของการเปล่งเสียงตัว"i" เสร็จแล้วจึงเปล่งเสียง "ยี" โดยให้ริมฝีปากยังคงย่นอยู่จนกว่าเสียงจะสิ้นสุดลงเรียบร้อยแล้ว แล้วจึงเลิกย่นริมฝีปาก ฉะนั้น เสียงของตัว " นี้จะไม่ใช่เป็นเสียง "ยู" หรือ "วี" หรือ "ยิว" อย่างที่หลายคนมักเข้าใจผิดข้อควรระวังคือ อย่าเลิกย่นริมฝีปากออกเสียก่อนที่เสียงซึ่งเปล่งออกมานั้นยังไม่จบสิ้นลง เพราะว่าไม่เช่นนั้นแล้วละก็เสียงที่เปล่งออกมานั้นจะถูกริมฝีปากบิดให้ผิดเพี้ยนไปเป็นเสียงที่ไม่ถูกต้องเสียงนี้เวลาออกเสียงค่อนข้างยาก เพระว่าในภาษาไทยไม่มีเสียงเช่นนี้ คนไทยจึงไม่คุ้นเคยหรือรู้สึกว่ายากแก่การที่จะต้องย่นริมฝีปากเอาไว้ในขณะที่กำลังเปล่งเสียงออกมาจนกว่าเสียงจะสิ้นสุด แต่ว่าถ้านักศึกษาพยายามฝึกหัดมากหน่อยก็สามารถออกเสียงตัวนี้ได้ถูกต้อง และจะไม่ยากเมื่อฝึกหัดจนคุ้นเคยแล้วและเวลา " ไปสะกดกับอักษรแทนเสียงพยัญชนะตัว "j" "q", "x" และ "y" แล้วละก็ให้ละจุดสองจุดบนตัว "u" เป็น "ju" "qu", "xu" และ "yu" ส่วน " ไปสะกดกับอักษรแทนเสียงพยัญชนะตัว "n" กับ "l" แล้วละก็ ยังต้องคงจุดสองจุดไว้บน " เช่น "n กับ " เพราะมิเช่นนั้นแล้วละก็จะไปซ้ำกับพยางค์เสียง "nu" กับ "lu" (เนื่องจาก "n" กับ "l" สามารถไปสะกดกับอักษรแทนเสียงสระตัว "u" ได้ด้วย
-i (8) มีเสียงเทียบเคียงได้กับเสียง "อือ" โดยให้ปลายลิ้นกระดกขึ้นบน และอักษรแทนเสียงสระตัวนี้จะสามารถสะกดได้กับอักษรแทนเสียงพยัญชนะตัว "zh", "ch" , "sh" กับ "r" เป็น zhi 
er (9) มีเสียงเทียบเคียงได้กับเสียง "อือ" ก่อนออกเสียงให้ยื่นปลายลิ้นออกไปในแนวราบแล้วใช้ปลายลิ้นยันไว้ตรงบริเวณด้านหลังฟันบนแล้วจึงเปล่งเสียงออกไปพร้อมกับเลื่อนปลายลิ้นห่างออกเล็กน้อย เสียงนี้จะเป็นเสียงที่เกิดจากการเบียดและเสียดสีกันออกมาอักษรแทนเสียงสระตัวนี้จะสามรถสะกดได้กับอักษรแทนเสียงพยัญชนะตัว "z", "c" กับ "s" เป็น "zi กับ เท่านั้น

ai

(10) มีเสียงเทียบเคียงได้กับเสียง "อาร์+กระดกลิ้นขึ้นบน+เออ" เน้นเสียงหนักที่ "อาร์ (กระดกลิ้น)" แล้วจึงลงด้วย "เออ" เบาๆ

-ei

(11) มีเสียงเทียบเคียงได้กับเสียงควบระหว่าง "อา+อี" ให้เป็นเสียงเดียวกัน ฟังดูเผินๆ ก็จะเป็น "อาย+อี" (ควบให้เป็นเสียงเดียวกันและเร็ว)
ao (12) มีเสียงเทียบเคียงได้กับเสียงควบระหว่าง "เอ+อี" ให้เป็นเสียงเดียวกันและเร็ว
ou (13) มีเสียงเทียบเคียงได้กับเสียงควบระหว่าง"อาว+โอ" ให้เป็นเสียงเดียวกันและเร็ว
-ia (14) มีเสียงเทียบเคียงได้กับเสียงควบระหว่าง "โอว+อู" ให้เป็นเสียงเดียวกันและเร็ว
-ie (15) มีเสียงเทียบเคียงได้กับเสียงควบเป็น "อี+ยา" เป็นเสียงเดียวกันและเร็ว เขียนเป็นพยางค์เสียงได้ว่า "ya" อ่านว่า "อี+ยา" (อ่านควบให้เป็นเสียงเดียวกัน)
-ua (16) มีเสียงเทียบเคียงได้กับเสียงควบเป็น "อี+เย" ให้เป็นเสียงเดียวและเร็ว ให้เน้นเสียงหนักที่ "เย" เขียนเป็นพยางค์เสียงได้ว่า "ye" อ่านว่า "เย"
-uo (17) มีเสียงเทียบเคียงได้กับเสียงควบ "อู+วา" ให้เป็นเสียงเดียวกันและเร็ว เขียนเป็นพยางค์เสียงว่า "wa" อ่านว่า "อู+วา" (อ่านควบให้เป็นเสียงเดียวกัน)
-üe (18) มีเสียงเทียบเคียงได้กับเสียงควบ "อู+โว" ให้เป็นเสียงเดียวกันและเร็ว เขียนเป็นพยางค์เสียงว่า "wo" อ่านว่า "อู+โว" (อ่านควบให้เป็นเสียงเดียวกัน)
-iao (19) มีเสียงเทียบเคียงได้กับเสียงควบที่ต้องย่นริมฝีปากก่อนแล้วจึงเปล่งเสียง "ยี+เอ" (อ่านควบให้เป็นเสียงเดียวกัน) เขียนเป็นพยางค์ได้ว่า "yue" ละจุดสองจุดบนตัว "u"
-iou (20) มีเสียงเทียบเคียงได้กับเสียงควบระหว่างเสียง "อี+ยาว" ให้เป็นเสียงเดียวกันและเร็ว เขียนเป็นพยางค์เสียงได้ว่า "yao" อ่านว่า "ยาว" (ให้เป็นเสียงสูงแนวราบตลอด)
-uai (21) มีเสียงเทียบเคียงได้กับเสียงควบระหว่างเสียง "อี+ยิว" ให้เป็นเสียงเดียวกันและเร็ว และเมื่อ "iou" ไปสะกดกับตัวอักษรแทนเสียงพยัญชนะตัวใดตัวหนึ่งแล้วละก็ให้ตัดตัวอักษรเหลือเพียง "iu และมีเสียงเทียบเคียงเป็นเสียงควบ "อี+อิว" เขียนเป็นพยางค์เสียงได้ว่า "you" อ่านว่า "ยิว"
-uai (22) มีเสียงเทียบเคียงได้กับเสียงควบระหว่างเสียง "อู+วาย" ให้เป็นเสียงเดียวกันและเร็ว เขียนเป็นพยางค์ เสียงได้ว่า "wai" อ่านว่า "อู+วาย" (อ่านควบให้เป็นเสียงเดียวกัน)
-uei (23) มีเสียงเทียบเคียงได้กับเสียงควบระหว่างเสียง "อู+เวย" ให้เป็นเสียงเดียวกัน และเมื่อ "uei"ไปสะกดกับตัวอักษรแทนเสียงพยัญชนะตัวใดตัวหนึ่งแล้วละก็ให้ตัดตัวอักษรเหลือเพียง "ui และมีเสียงเทียบเคียงเป็นเสียงควบได้กับเสียง "อุย+อี" เขียนเป็นพยางค์เสียงได้ว่า "wei" อ่านว่า "เวย+อี" (อ่านควบให้เป็นเสียงเดียวกัน) 
an (24) มีเสียงเทียบเคียงได้กับเสียง "อาน" ปลายเสียงขึ้นจมูก ไม่ใช่เสียง "อัน"
en (25) มีเสียงเทียบเคียงได้กับเสียง "เอิน" ปลายเสียงขึ้นจมูก
ang (26) มีเสียงเทียบเคียงได้กับเสียง "อาง" ปลายเสียงขึ้นจมูก ไม่ใช่เสียง "อัง"
eng (27) มีเสียงเทียบเคียงได้กับเสียง "เอิง" ปลายเสียงขึ้นจมูก
-ian (28) มีเสียงเทียบเคียงได้กับเสียงควบระหว่างเสียง "อี+เยียน" เขียนเป็นพยางค์เสียงว่า "yan" อ่านว่า "เยียน"
-in (29) มีเสียงเทียบเคียงได้กับเสียงควบระหว่างเสียง "ยิน+อิน" ให้เป็นเสียงเดียวกันและเร็ว เขียนเป็นพยางค์เสียงได้ว่า "yin" อ่านว่า "ยิน+อิน"
-iang (30) มีเสียงเทียบเคียงได้กับเสียงควบระหว่างเสียง "อี+ยาง" ให้เป็นเสียงเดียวกันและเร็ว เขียนเป็นพยางค์เสียงได้ว่า "yang" อ่านว่า "ยาง" ให้ปลายเสียงขึ้นจมูก 
-ing (31) มีเสียงเทียบเคียงได้กับเสียงควบระหว่างเสียง "ยิง+อิง" ให้เป็นเสียงเดียวกันและเร็ว เขียนเป็นพยางค์เสียงได้ว่า "ying" อ่านว่า "ยิง+อิง" ให้ปลายเสียงขึ้นจมูก
-iong (32) มีเสียงเทียบเคียงได้กับเสียงควบระหว่างเสียง "อี+ยง" ให้เป็นเสียงเดียวกันและเร็ว เขียนเป็นพยางค์เสียงได้ว่า "yong" อ่านออกเสียงว่า "ยง"
-uan (33) มีเสียงเทียบเคียงได้กับเสียงควบระหว่างเสียง "อู+วาน" ให้เป็นเสียงเดียวกันและเร็ว เขียนเป็นพยางค์เสียงว่า "wan อ่านออกเสียงว่า "อู+วาน" (อ่านควบให้เป็นเสียงเดียวกันและเร็วเช่นกัน)
-uen (34) มีเสียงเทียบเคียงได้กับเสียงควบระหว่างเสียง "อู+เวิน" ให้เป็นเสียงเดียวกันและเร็ว เขียนเป็นพยางค์เสียงได้ว่า "wen อ่านออกเสียงว่า "เวิน" แต่เมื่อ "-uen" ไปสะกดกับอักษรแทนเสียงพยัญชนะตัวอื่นๆ แล้วละก็ ให้เหลือเพียง "un
-uang (35) มีเสียงเทียบเคียงได้กับเสียงควบระหว่างเสียง "อู+วาง" (ให้เป็นเสียงเดียวกันและเร็ว) เขียนเป็นพยางค์เสียงได้ว่า "wang" อ่านออกเสียงว่า "อู+วาง" เหมือนเดิมให้ปลายเสียงขึ้นจมูกและเน้นเสียงหนัก "วาง" มากกว่า
-ueng (36) มีเสียงเทียบเคียงได้กับเสียงควบระหว่างเสียง "อู+เวิง" (ให้เป็นเสียงเดียวกันและเร็ว) เขียนเป็นพยางค์เสียงได้ว่า "weng" อ่านออกเสียงว่า "อู+เวิง" เหมือนเดิมให้เน้นเสียงหนัก "เวิง" มากกว่า
-üan (37) มีเสียงเทียบเคียงได้กับเสียงควบระหว่างเสียง "ย่นริมฝีปากก่อน+ยี+อาน" (อ่านให้เป็นเสียงเดียวกันและเร็ว) เขียนเป็นพยางค์เสียงได้ว่า "yuan" อ่านออกเสียงว่า "ย่นริมฝีปากก่อน+ยี+อาน" เหมือนเดิมแล้วละจุดสองจุดบนตัว "u" ไว้ในฐานที่เข้าใจ "- นี้จะสามารถไปสะกดกับอักษรแทนเสียงพยัญชนะตัว "j" , "q", "x" และ "y" เป็น "juan", "quan", "xuan" และ "yuan" ได้เท่านั้น
-ün (38) มีเสียงเทียบเคียงได้กับเสียงควบระหว่างเสียง "ย่นริมฝีปากก่อน+ยิน" (จะต้อยย่นริมฝีปากตลอดเวลาในณะที่เปล่งเสียงออกมา จนกว่าเสียงจะสิ้นสุดลงเรียบร้อยแล้ว จึงจะเลิกย่นริมฝีปากได้) เขียนเป็นพยางค์เสียงได้ว่า "yun" แล้วละจุดสองจุดบนตัว "u" ไว้ในฐานที่เข้าใจ " นี้ จะสามารถไปสะกดกับอักษรแทนเสียงพยัญชนะตัว "j", "q", "x" และ "y" เป็น "jun", "qun", "xun" และ "yun" ได้เท่านั้น

butterfly.gif

We are dedicated to teaching a child as much as possible during each class. Our classrooms are an open and friendly setting that allow students to contribute.

Our School * Any Street * Anytown * US * 01234